ภาษา:




2022
ราคา:
0 บาท
เลขสินค้า Post ID :
1631816788
Email :
aa@aa.com
ลงประกาศวันที่ :
2021-09-17
เวลาแก้ไขประกาศ:
2022-07-26 10:17:12
ตำแหน่งสินค้าบริการ :
จำนวนคนสนใจ:
1189
Messager พูดคุยสอบถาม:
ข้อความถึง:
QR code:
ติดต่อ:
064 014 6439

รายละเอียด

เนรมิตจิรายุฟาร์ม ฟาร์มหมู แม่ฮ่องสอน
Tel. 
083-8104850 /  064-0146439

จำหน่ายลูกหมู หมูขุน แม่พันธุ์ รีวิวการเลี้ยงหมูในวิถีธรรมชาติ,หมูขุน,หมูขุนหน้าฟาร์ม,ราคาหมู,ราคาเนื้อหมู,หมูเนื้อแดง,ฟาร์มหมู,การเลี้ยงหมู,ตลาดหมู,ทุกข์คนเลี้ยงหมู,คนเลี้ยงหมู,เขียงหมู,ตลาดหมู,เรื่องหมูหมู,กำหนดราคาขายเนื้อหมู,ราคาหน้าฟาร์ม,กลไกตลาด,การเลี้ยงหมูหลุม

จัดแนวคิดการสร้างกระบวนการผลิตที่ยั่งยืน นำมาสู่การต่อยอดและขยายผลการใช้ทรัพยากรให้เต็มประสิทธิภาพสูงสุด ภายใต้แนวคิด “ฟาร์มสีเขียว” ความสูข และการแบ่งปัน

จากพื้นที่กว่า 2 ไร่ของฟาร์มในตำบลแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงเรือนเลี้ยงหมูเริ่มต้นรวม 33 ตัว มีครบทุกหน่วยผลิตอยู่ในฟาร์มเดียวกัน โดยที่นี่ยังมีหมูเข้าเลี้ยงอยู่ตลอดเวลาจุดเริ่มต้นเส้นทางสีเขียวของฟาร์มเนรมิตจิรายุ ฟาร์ม แม่ฮ่องสอน หนึ่งในต้นแบบ “กรีนฟาร์ม” ที่เน้นการใช้ประโยชน์ให้แก่ชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม

ฟาร์มแห่งนี้ร่มรื่นด้วยต้นไม้ใบหญ้าเขียวชอุ่ม และการวางผังฟาร์มไว้อย่างเหมาะสม ซึ่งเป็นความตั้งใจในการริเริ่มก้าวแรกของการดำเนินงานจัดทำโครงการฟาร์มสุกรสีเขียว หรือ "กรีนฟาร์ม" ของเจ้าของ ฟาร์ม ก่อนจะถูกพัฒนาจนกลายเป็นฟาร์มต้นแบบที่ได้รับการขยายผลต่อไปยังฟาร์มสุกรอื่นๆ

นอกจากจากแนวคิดที่จะสร้าง ฟาร์มหมูปลอดโรค ปลอดสาร ปลอดภัย ต่อผู้บริโภค เนรมิตจิรายุฟาร์ม หมายมั่นปั้นมือที่จะพัฒนาให้ฟาร์มแห่งนี้ก้าวสู่การเป็นศูนย์เรียนรู้ของการทำฟาร์มครบวงจรทุกหน่วยผลิตในฟาร์มเดียว ในแบบ One Stop Service และยังใช้เทคโนโลยีทันสมัยเข้ามาช่วยให้การเลี้ยงหมูมีประสิทธิภาพสูงสุดและช่วยลดต้นทุนการผลิต ภายใต้ระบบการเลี้ยงมาตรฐานและตรวจสอบย้อนกลับได้

ที่สำคัญ เนรมิตจิรายุ ฟาร์ม ยังมุ่งเน้นกระบวนการผลิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมประหยัดพลังงาน และเป็นตัวอย่างในการพัฒนาฟาร์มหมูในอนาคตที่ต้องใส่ใจชุมชน โดยนอกจาก กรีนฟาร์มแม่ฮ่องสอน จะเป็นมิตรต่อชุมชนและสภาพแวดล้อมสวยงามยังมุ่งเน้นการจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ

การวางผังดังกล่าวแบ่งแยกส่วนเลี้ยงสัตว์ ส่วนบำบัดของเสียจากการเลี้ยง บ่อบำบัดและบ่อพักน้ำ ส่วนสำนักงาน บ้านพัก และพื้นที่ส่วนกลาง โดยพื้นที่ส่วนใหญ่ถูกปรับเปลี่ยนให้เป็นพื้นที่ “สีเขียว” ทั้งหมด

เนรมิตจิรายุ ฟาร์ม ยังนำเทคโนโลยีแบบเต็มรูปแบบเข้ามาติดตั้งในฟาร์มเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม เริ่มจากการทำฟาร์มระบบปิดด้วยโรงเรือนระบบธรรมชาติ การใช้ส้วมน้ำในโรงเรือนหมู การใช้ระบบการเลี้ยงด้วย อาหารธรรมชาติ ในฟาร์ม การทำระบบบำบัดน้ำเพื่อนำน้ำไปรดต้นไม้รอบฟาร์ม นำระบบฟอกอากาศท้ายโรงเรือนมาใช้อย่างได้ผล ซึ่งระบบทั้งหมดนี้อยู่ภายใต้มาตรฐานฟาร์มสีเขียวที่ทั้งช่วยกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ ช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีผลต่อภาวะโลกร้อน ทำให้ฟาร์มอยู่กับชุมชนได้อย่างยั่งยืน

ขณะเดียวกัน ฟาร์มสุกร เนรมิต จิรายุ ฟาร์ม ยังได้แบ่งปัน "น้ำปุ๋ย" ซึ่งเป็นน้ำที่ออกจากระบบไบโอแก๊สและผ่านการบำบัดจนมีคุณภาพมาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด ให้กับพี่น้องเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังและปลูกไผ่ตง ที่อยู่ในพื้นที่รอบๆ ฟาร์ม ทำให้ช่วยลดต้นทุนค่าปุ๋ยและยังแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำในช่วงฤดูแล้งได้เป็นอย่างดี 

เจ้าของฟาร์ม เล่าว่า ฟาร์มแห่งนี้ ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 2019 แต่ชาวบ้านรับรู้ถึงความแตกต่างระหว่างฟาร์มหมูของเนรมิต จิรายุ ฟาร์ม กับฟาร์มหมูแบบหลังบ้าน และนอกจากพื้นที่โดยรอบจะเป็นไร่ ภายในฟาร์มก็มีการปลูกต้นไม้เต็มบริเวณเหมือนรีสอร์ท จนแทบไม่เชื่อว่าเป็นฟาร์มหมู

เจ้าของฟาร์ม ให้คำยืนยันเรื่องที่ไม่มีกลิ่นเหม็นรบกวนสมาชิกชุมชนใกล้เคียงแล้ว ยังกล่าวเสริมว่า น้ำที่ผ่านการบำบัดจากฟาร์มสุกรแห่งนี้ยังได้แบ่งปันให้กับเกษตรกรที่อยู่รอบๆฟาร์ม เพื่อนำไปรดไร่ซึ่งสามารถช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำในฤดูแล้ง

“ผมอดภูมิใจไม่ได้ เพราะน้ำดังกล่าวมีส่วนช่วยให้เกษตรกรไร่ได้ผลผลิตเพิ่มลดต้นทุน กำไรเพิ่มและแก้ปัญหาขาดน้ำได้"

กำนันระเบียบ กล่าวต่อว่า หลังจากที่ใช้น้ำหลังการบำบัดจากฟาร์มบนเนื้อที่ 110 ไร่ ทำให้อ้อยได้รับน้ำพอเพียง  โดยพบว่าได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นอีก 1 เท่าตัว ประมาณ 10 ตันต่อไร่ รวมเป็น 20-21 ตันต่อไร่ โดยที่ไม่จำเป็นต้องใช้ปุ๋ยเคมี แถมยังช่วยลดค่าแรงงานคนถอนหญ้าไปได้ถึงไร่ละ 1,000 บาท เนื่องจากต้นอ้อยโตเร็วต้นหญ้าจึงโตไม่ทัน ช่วยให้ต้นทุนค่าปลูก-ไถ-ค่าแรง ลดลงเหลือประมาณ 8,000 บาทต่อไร่

ด้านวรรณา ทองยิ้ม  ชาวบ้านโปร่งไหม ตำบลหนองประดู่ ที่อาศัยอยู่ใกล้ฟาร์มและเป็นเกษตรกรอีกคนที่ขอน้ำหลังการบำบัดไปใช้ในไร่อ้อยมาร่วม 10 ปี ยืนยันอีกเสียงว่า ผลผลิตอ้อยที่ดีขึ้นนั้นต้องยกความดีให้น้ำที่ได้รับจากฟาร์ม และยังช่วยลดการใช้ ปุ๋ยเคมีจากเดิมลงไป 50%

จากมาตรฐานฟาร์มสีเขียวของซีพีเอฟได้กลายเป็นโมเดลการเลี้ยงสัตว์รักษ์โลก ที่ถูกนำไปถ่ายทอดให้เกษตรกรรายย่อยในโครงการส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงสัตว์ อย่างเช่นที่ สมเกียรติฟาร์ม เลี้ยงหมูขุน ในตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ของ สมเกียรติ โหสกุล ที่นำรูปแบบ กรีนฟาร์มมาปรับใช้ โดยเฉพาะระบบไบโอแก๊ส ที่ช่วยเปลี่ยนขี้หมูให้กลายเป็นแหล่งพลังงานสำคัญ ช่วยลดรายจ่ายค่ากระแสไฟฟ้าได้มากกว่า 50% และยังนำแก๊สเข้าระบบท่อแก๊สรวมกับเพื่อนๆเกษตรกรในตำบลแพรกหากลายเป็นแก๊ซหุงต้มลดค่าใช้จ่ายให้กับเพื่อนบ้านได้อีกด้วย ส่วนน้ำหลังการบำบัดก็ยังนำไป แบ่งปันให้เพื่อนเกษตรที่ปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ นำไปรดต้นหญ้าแบบฟรีๆ ช่วยเพิ่มผลผลิตโดยไม่จำเป็นต้องใช้ปุ๋ยเคมี ทำให้เพื่อนบ้านมี รายได้เพิ่มขึ้นอีกเดือนละกว่า 10,000 บาท

กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกผลไม้ ที่หมู่ 7 ตำบลสองพี่น้อง อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี ซึ่งค้นพบวิธีการที่จะช่วยลดต้นทุนด้วยการใช้ “น้ำปุ๋ย” ที่ได้จากฟาร์มสุกรจันทบุรี 2 ของซีพีเอฟ ที่ช่วยตอบโจทย์ความต้องการของชุมชนได้อย่างแท้จริง

“เมื่อตอนเริ่มต้นประมาณปี 2553 เพื่อนเกษตรกรยังใช้ถัง 1,000 ลิตร ไปบรรทุกน้ำจากฟาร์มมาใช้ จากหนึ่งคนก็เพิ่มจำนวนมากขึ้น จากการบอกกันปากต่อปากว่าผลผลิตกล้วยดีขึ้น พอเอาไปรดต้นเงาะลูกก็งามเหมือนกัน ผมนำเรื่องนี้มาปรึกษากับทางฟาร์มว่าเราควรทำเป็นโครงการปันน้ำให้สวนเกษตรภายในหมู่บ้าน ทางฟาร์มก็เห็นด้วย และเริ่มโครงการกันทันทีเพราะเขาก็อยากทำกิจกรรมดีๆร่วมกับเราอยู่แล้ว ฟาร์มก็ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนเหมือนกัน ชาวสวนและชาวฟาร์มจึงช่วยกันต่อท่อ PVC ที่ได้รับจากกรมชลประทานมาต่อเป็นท่อส่งน้ำให้แต่ละสวน จนถึงตอนนี้เรามีสมาชิกในโครงการ 35 คนแล้ว” ณรงค์ศักดิ์ สุทธาทิพย์ ผู้ทรงคุณวุฒิสภาเกษตรกร และประธานหมอดินจังหวัดจันทบุรี บอกถึงจุดเริ่มต้นของความสำเร็จของพี่น้องเกษตรกร

“ข้อดีของการใช้น้ำปุ๋ยคือ การช่วยปรับสภาพดินทำให้มีลักษณะร่วมซุย เพราะในน้ำมีจุลินทรีย์ที่ช่วยปรับโครงสร้างดินให้ดีขึ้น ที่สำคัญยังช่วยลดการใช้ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยคอกไปได้ถึง 40% อย่างเช่นสวนของผมปลูกผลไม้แบบผสมผสานบนพื้นที่ 10 ไร่ พบว่าผลผลิต


สินค้าประเภทเดียวกัน

สินค้าที่เคยดูมา